ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

รู้จักกับการออกแบบ User-Centered Design, User Experience Design & Usability

     ในหลายๆครั้งเรามักจะออกแบบโดยใช้ความรู้สึกส่วนตัวของเราโดยมักจะมุ่งไปที่ ทำอย่างไรให้ได้ตามผลลัพธ์ที่เราตั้งไว้ ต้องมีลูกเล่นที่ตื่นตาตื่นใจ ต้องมีเครื่องมือที่ทันสมัยต่าง ๆ ซึึ่งเราอาจจะละเลยสิ่งที่สำคัญที่สุดของระบบเรา นั่นก็คือ ผู้ใช้งาน
     User Center Design ( UCD ) คือ กระบวนการที่จะออกแบบส่วนต่างๆของระบบ เช่น การออกแบบ UI ของหน้าเว็บไซต์ โดยมีมุมมองที่ว่า ทำอย่างไรให้ผู้ใช้สามารถ เข้าใจ และ ใช้ได้ในทันที นอกจากนี้เราสามารถออกแบบระบบให้ส่งเสริมความต้องการของผู้ใช้งานโดยดูจาก สิ่งที่เกี่ยวข้องกับงานของผู้ใช้งาน โดยกระบวนการดังกล่าวจะทำให้งานของเรามีประสิทธิภาพมากขึ้น และ เป็นมิตรกับผู้ใช้งานมากขึ้นทำให้ผู้ใช้งานอยากเข้ามาใช้งาน งานของเรามากยิ่งขึ้น
     User Experience Design ( UXD ) คือ การศึกษาความต้องการของผู้ใช้งานในระบบ ทำให้ทราบว่าผู้ใช้งานต้องการอะไร ชอบแบบไหน โดยวิธีการต่างๆเช่น การสังเกตพฤติกรรมและการตอบสนองของผู้ใช้งานโดยต้องเกี่ยวข้องกับระบบที่เรากำลังออกแบบอยู่นั้นเอง การที่เราเข้าใจผู้ใช้งานนั้นจะช่วยให้เราสร้างส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้งานเพื่อให้ผู้ใช้งานพึงพอใจและสามารถใช้ได้อย่างกับว่าเป็นสิ่งที่เขาคุ้นเคยอยู่แล้ว
   จะเห็นได้ว่าการออกแบบระบบทั้งสองอย่างนี้มีความสัมพันธ์กันและหัวใจหลักของระบบก็คือ ผู้ใช้งานต่อไปแล้วเราจะทราบได้อย่างไรว่าระบบที่เรากำลังทำดีหรือไม่ดีต่อผู้ใช้
     Usability ก็คือตัวที่จะวัดว่าระบบหรืองานที่เรากำลังทำอยู่นั้นมีการตอบสนองต่อผู้ใช้งานดีไหม มีประสิทธิภาพไหม ตรงตามเป้าหมายของผู้ใช้งานหรือเปล่า ผู้ใช้งานสามารถเรียนรู้ได้ง่าย สามารถเข้าใจได้ง่ายหรือเปล่า โดยระดับของ Usability สามารถวัดโดย การทดสอบระบบ แบ่งระบบออกเป็นส่วน ๆ และ ถามโดยตรงจากผู้ใช้งาน หรือ ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาผู้ใช้งานโดย User Experience Engineers เพื่อที่จะดูว่าเราควรจะแก้ไขระบบหรืองานของเราอย่างไร
     สรุป 3 ข้อง่ายๆที่จะทำให้ได้ Usability 
1. ดูว่าระบบหรืองานของเรานั้นใครเป็นผู้ใช้งาน
2. ดูว่าผู้ใช้งานจะใช้งานอะไรในระบบเรา
3. ดูจุดประสงค์ของงานที่ผู้ใช้งานจะได้ไปจากการใช้
    หากเข้าใจถึง 3 ข้อนี้ ทำการวิเคราะห์และพัฒนาระบบ โดยอาศัยหลักการออกแบบ UCD ไปใช้งานจะทำให้งานของเรานั้นมีประสิทธิภาพมากขึ้นนั่นเอง

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

รวมชุดคำสั่ง Assembly ของ AVR

บทความนี้ได้รวบรวมชุดคำสั่งภาษา assembly ของไมโคคอนโทรลเลอร์ตระกูล AVR และสรุปการใช้งานเป็นภาษาไทยอย่างง่ายหากมีข้อผิดพลาด ขออภัยด้วยครับ ชุดคำสั่งทางคณิตศาสตร์และลอจิก add Rd, Rr   :   Rd + Rr เก็บผลลัพธ์ไว้ใน Rd adc Rd, Rr   :   Rd + Rr + Carry flag  เก็บผลลัพธ์ไว้ใน Rd mul Rd, Rr   :   Rd x Rr ได้ผลลัพธ์เป็น 16 bit เก็บไว้ใน R0, R1 sub Rd, Rr   :   Rd - Rr เก็บผลลัพธ์ไว้ใน Rd sbc Rd, Rr   :   Rd - Rr - Carry flag  เก็บผลลัพธ์ไว้ใน Rd and Rd, Rr   :   Rd and Rr แบบ bit ต่อ bit or Rd, Rr   :   Rd or Rr แบบ bit ต่อ bit eor Rd, Rr   :    Rd exclusive or Rr แบบ bit ต่อ bit com Rd   :   complement (กลับบิต) Rd neg Rd   :   2'complement (ติดลบ) Rd inc Rd   :   Rd++ dec Rd   :   Rd-- clr Rd   :   เคลียร์ bit Rd เป็น 0 ชุดคำสั่งเคลื่อนย้ายข้อมูล mov Rd, Rr   :   copy ข้อมูลขนาด 1 byte จาก Rr ไว้ใน Rd movw Rd, Rr   :   copy ข้อมูลขนาด 2 bytes จาก Rr, Rr+1 ไว้ใน Rd, Rd+1 ldi   Rd, k   :   โหลดค่าใส่ register , k มีค่า 0 - 255 ld Rd, X   :   อ่านค่าตำแหน่งที่ X ชี้อยู่เก

รู้จักกับการออกแบบอินโฟกราฟิกส์ infographics design

      infographics คือการออกแบบโดยการใช้ภาพนิ่ง, ภาพเคลื่อนไหวหรือสัญลักษณ์แทนข้อความหรือข้อมูลต่างๆ ที่ต้องการจะสื่อความหมายถึงข้อความหรือข้อมูลนั้นโดยภาพนิ่ง, ภาพเคลื่อนไหวหรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนจะมีรูปแบบที่ผู้อ่านสามารถเข้าใจได้อย่างรวดเร็วและชัดเจน โดยไม่ต้องมีผู้นำเสนอมาช่วยขยายความอีก       infographics มาจากคำว่า information + graphics การนำเสนอข้อมูลแบบ infographics จะนำเสนอข้อมูลที่เข้าใจยาก ข้อมูลที่ตัวอักษรเยอะๆ ในรูปแบบสร้างสรรค์เข้าใจได้ง่าย เช่น ภาพ ลายเส้น แผนภูมิ แผนที่ ฯลฯ สามารถสื่อข้อมูลนั้นออกมาได้อย่างชัดเจน มีองค์ประกอบที่สำคัญ        ตัวอย่างการนำเสนอข้อมูลแบบ infographics http://www.alychidesigns.com/30-templates-and-vector-kits-to-design-your-own-infographic กระบวกการออกแบบดีไซน์ infographics โดย Hyperakt's Josh Smith  1. รวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูลทุกอย่างเกี่ยวกับสิ่งที่จะนำเสนอโดยข้อมูลที่ดีควรเป็นข้อมูลดิบจากต้นฉบับและควรเก็บรวบรวมลิ้งค์ข้อมูลไว้ด้วย 2. การอ่านข้อมูลทั้งหมด การออกแบบอินโฟกราฟิกต้องมีทักษะในการจัดการข้อมูลและต้องแน่ใจว่าข้

Python: Chat bot &Text to Speech ภาษาไทย ด้วย gTTS

วันนี้จะมาแนะนำทุกๆ คนเกี่ยวกับ การเขียนโปรแกรมง่าย ๆ เพื่อให้คอมพิวเตอร์อ่านออกเสียงตามที่เราได้พิมพ์ให้ โดย ใช้ library คือ gTTS และ play sound จะมีวิธีการเขียนอย่างไร มาดูกันเลย เริ่มจากติดตั้ง package gTTS และ play sound ก่อน                                                                          pip install gTTS                                                                                pip install playsound                                                                                                                                                                               จากนั้น เรามาเริ่มเขียนโปรแกรมกันเลย โดยการทำงานของโปรแกรมนี้คือ โปรแกรมจะรับค่าข้อความจากผู้ใช้ จากนั้น เรียกใช้ library gTTS โดยส่งข้อมูลคือ ข้อความ และ ภาษา สำหรับการแปลงข้อความเป็นเสียงผ่าน google translate API แล้วจากนั้นจึงทำการ save ข้อมูลลงไปยัง file ชื่อ "sound.mp3" ต่อมาไฟล์จะถูกเล่นโดย playsound เป็นเสียงให้เราได้ยินกัน และในบรรทัดสุดท้ายเป็นการลบไฟล์ที่บัน