ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2017

ชีวิตดีขึ้นเมื่อรู้จักกับ Just in Time System

ชีวิตดีขึ้นเมื่อรู้จักกับ Just in Time System หรือ JIT     หากคุณเป็นหนึ่งในคนที่มีปัญหาการแบ่งเวลาทำงานไม่ถูก งานเยอะเกินไปทำไม่ทันมาลองทำความเข้าใจกับระบบ Just in Time System กันเถอะ Just in Time System      คือ ระบบการส่งมอบวัตถุดิบ สินค้า หรือบริการที่ผู้ใช้ต้องการ ในเวลาที่ต้องการ และตรงตามจำนวนที่ต้องการจะใช้ โดยใช้ความต้องการของผู้ใช้เป็นสิ่งกำหนดปริมาณวัตถุดิบ สินค้า หรือบริการ      พูดง่าย ๆ ก็คือ ทำอย่างพอดี ๆ ไม่มากเกินไป และ ไม่น้อยเกินไปนั้นเองครับ      วัตถุประสงค์หลัก ๆ ของ Just in Time ต้องการควบคุมวัสดุคงคลังให้อยู่ในระดับที่น้อยที่สุดหรือเท่ากับศูนย์ ( Zero Inventory ) ต้องการลดเวลานำหรือระยะเวลารอคอยในกระบวนการผลิตให้น้อยที่สุดหรือเท่ากับศูนย์ ( Zero Lead Time ) ต้องการขจัดปัญหาของเสียที่เกิดขึ้นจากกาารผลิตให้เป็นศูนย์ ( Zero Failures ) ต้องการขจัดความสูญเปล่าในการผลิต การผลิตมากเกินไป : ชิ้นส่วนและสินค้าถูกผลิตมากเกินความต้องการ การรอคอย : การติดขัดด้านข้อมูล หรือการรอวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในาการผลิต การขนส่ง : ระยะทางที่มากเกินไป กระบวนการผลิต

มาเริ่มต้นรู้จักกับ HTML กันเถอะ Part II

มาเริ่มต้นรู้จักกับ HTML กันเถอะ       ในบทความที่แล้วผมได้พูดถึงเนื้อหาความเป็นมาต่างๆของ HTML และก็เริ่มต้นใช้ HTML เบื้องต้นไปแล้ว ใครที่พลาดสามารถย้อนกลับไปดูเนื้อหาก่อนหน้าได้นะครับ ในบทความครั้งนี้ราจะมาดู Tag และ Element ต่างๆใน HTML กัน ไปต่อกันเลยครับ      ทบทวนนะครับ Tag และ Element ต่างกันยังไง ?  Element ก็คือ Tag นั่นแหละครับแต่จะเป็น Tag ย่อยใน Tag หลัก อีกทีหนึ่ง เช่น  <html> // Tag html       <head> //Tag head เป็น Element ของ html        </head>       <body> //Tag body เป็น Element ของ html            <h1> Hello World </h1>   //Tag h1 เป็น Element ของ html        </body> </html>   แนะนำ Tag และ Element  ต่างๆที่ใช้กันบ่อยๆ     อันดับแรก <head> คือ tage ที่แสดงรายละเอียดส่วนหัวของเว็บ ภายใน tag <head> จะประกอบไปด้วย element        <title> ... </title> จะแสดงข้อความที่อยู่บน tab ของเว็บเบราว์เซอร์       <meta ... />       <link /> เป็น tag สำหรับใช

มาเริ่มต้นรู้จักกับ HTML กันเถอะ Part I

มาเริ่มต้นรู้จักกับ HTML กันเถอะ       หลายคนอาจทราบหรือไม่ทราบว่า HTML นั้น ย่อมาจาก HyperText Markup Language ซึ่งเป็นภาษาหนึ่งที่ใช้ในการเขียนเว็บ แต่ในบทความนี้เราจะอธิบายเกี่ยวกับเรื่องราวต่าง ๆ ว่าเจ้า HTML เนี่ยมันมาจากไหนกันแน่นะ และบอกรายละเอียดเกีี่ยวกับ tag และ element ต่าง ๆ ของ HTML  แน่นอนคุณจะได้ลองเขียน HTML เพื่อเสริมความเข้าใจของคุณเกี่ยวกับการเขียนเว็บด้วย HTML มาเริ่มกันเลย About HTML       HTML เป็นต้นแบบแรก ๆ ที่ถูกสร้างโดย ทิม เบิร์นเนอร์-ลี ( Tin Berners-Lee ) ในปี ค.ศ. 1992 หรือ พศ 2535 เบิร์นเนอร์-ลีรู้สึกว่ามีความเป็นไปได้ที่จะเชื่อมต่อเอกสารต่าง ๆ เข้าด้วยกันโดยใช้ hypertext  ( ระบบซอฟต์แวร์ที่เชื่อมต่อหัวข้อต่าง ๆ บนหน้าจอกับข้อมูลหรือกราฟิกที่เกียวข้องซึ่งโดยทั่วไปจะเข้าถึงด้วยวิธีการชี้หรือคลิก หรือเรียกว่า hyperlinks  ) และแนวคิด HTML ก็ได้ถือกำเนิดขึ้น      ในสมัยก่อนเนื่องจากบริษัทที่ได้พัฒนา hypertext เช่น Zog และ Intermedia ได้กำหนดค่าให้ hypertext ที่บริษัทตนเองพัฒนาทำงานเข้ากับประเภทคอมพิวเตอร์ของบริษัทตนเองเท่านั้น และ hypertext ดังกล่าวต่

เทคโนโลยีการพัฒนาเว็บ

เทคโนโลยีการพัฒนาเว็บ Basic     Hypertext Transfer Protocol ( HTTP ) :   โปรโตคอลหรือคือมาตราฐานการติดต่อสื่อสารหนึ่งของคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่เป็นโปรโตคอลในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการในเครือข่ายใยแมงมุม ที่เรารู้จักกันในชื่อ World Wide Web นั้นเอง นอกจากนี้ยังมีอีกหนึ่งโปรโตคอล คือ Hypertext Transfer Protocol over Secure Socket Layer   ( HTTPS )  ต่างจาก HTTP ตรงที่การส่งข้อมูลของ HTTPS จะส่งข้อมูลแบบ Cipher Text คือ ส่งข้อมูลที่มีการเข้ารหัส แต่ HTTP จะส่งข้อมูลแบบ Clear Text ทำให้ HTTPS นั้นมีึความปลอดภัยกว่า  HTTP นั้นเอง     HyperText Markup Language ( HTML ) : ภาษาที่ใช้สำหรับอธิบายและกำหนดเนื้อหาต่างๆ บนหน้าเว็บ หรือเป็นภาษาประเภท Markup Language จะพบในรูปแบบ Tag  โดยสิ่งที่เขียนจากภาษา HTMLจะกลายเป็น Element Object ที่ถูกอ้างอิงโดย DOM ( Document Object Model เกริ่นๆ ไว้ก่อน) นอกจาก HTML ยังมีภาษาอื่นที่เป็น Markup Language อีกเช่น XML, GML, SGML เป็นต้น รูปแบบไฟล์ .html     Cascading Style Sheets ( CSS ) : มีข้อความเพียงอย่างเดียวคง