ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

Python Web Dev: Login Flask app ด้วย Google

เกริ่น...

ทุกคนจะเห็นว่าหลาย ๆ เว็บในปัจจุบันเปิดให้ใช้งานการเข้าสู่ระบบ (login) ผ่าน Facebook หรือ Google กันทั้งนั้น เหตุผลที่เราต้องทำการเข้าสู่ระบบก็เพื่อเป็นการบอกเจ้าของระบบว่า คุณเป็นใครในการใช้งานระบบนั้นๆ โดยบทความนี้จะเป็นตัวอย่างการทำการยืนยันตัวตน (Authentication) ด้วย OAuth กับ flask app แต่จะยกตัวอย่างเฉพาะของ Google นะครับ โดยจะใช้ flask-oauthlib ซึ่งเป็น library หนึ่งสำหรับการยืนยันตัวตนหากใครยังไม่ติดตั้งก็ตามนี้เลยครับ
                                                                       pip install flask-oauthlib                                                                                                            
หากใครยังไม่ติดตั้ง flask ก็ตามนี้ครับ
                                                                       pip install flask                                                                                                           
จากนั้นไปที่ หน้า dash board ของ GOOGLE API (console.developers.google.com)
เลือก Credentials > Create Credentials > OAuth client ID


จากนั้น เลือก Web application
ช่อง Name ใส่ ชื่อโครงการของเรา
ช่อง Authorized JavaScript origins ใส่ http://127.0.0.1
ช่อง Authorized redirect URIs ใส่ http://127.0.0.1/login/authorized
แล้วกด Create

จากนั้นจะมีกล่อง OAuth client เด้งขึ้นมา ให้เก็บ key ไว้


สร้างไฟล์ app.py ขึ้นมา
แก้ไข 'GOOGLE_ID' และ  'GOOGLE_SECRET' เป็น key ของตนเอง แล้วลอง run app ขึ้นมาก็จะสามารถใช้งานได้ทันที

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

รวมชุดคำสั่ง Assembly ของ AVR

บทความนี้ได้รวบรวมชุดคำสั่งภาษา assembly ของไมโคคอนโทรลเลอร์ตระกูล AVR และสรุปการใช้งานเป็นภาษาไทยอย่างง่ายหากมีข้อผิดพลาด ขออภัยด้วยครับ ชุดคำสั่งทางคณิตศาสตร์และลอจิก add Rd, Rr   :   Rd + Rr เก็บผลลัพธ์ไว้ใน Rd adc Rd, Rr   :   Rd + Rr + Carry flag  เก็บผลลัพธ์ไว้ใน Rd mul Rd, Rr   :   Rd x Rr ได้ผลลัพธ์เป็น 16 bit เก็บไว้ใน R0, R1 sub Rd, Rr   :   Rd - Rr เก็บผลลัพธ์ไว้ใน Rd sbc Rd, Rr   :   Rd - Rr - Carry flag  เก็บผลลัพธ์ไว้ใน Rd and Rd, Rr   :   Rd and Rr แบบ bit ต่อ bit or Rd, Rr   :   Rd or Rr แบบ bit ต่อ bit eor Rd, Rr   :    Rd exclusive or Rr แบบ bit ต่อ bit com Rd   :   complement (กลับบิต) Rd neg Rd   :   2'complement (ติดลบ) Rd inc Rd   :   Rd++ dec Rd   :   Rd-- clr Rd   :   เคลียร์ bit Rd เป็น 0 ชุดคำสั่งเคลื่อนย้ายข้อมูล mov Rd, Rr   :   copy ข้อมูลขนาด 1 byte จาก Rr ไว้ใน Rd movw Rd, Rr   :   copy ข้อมูลขนาด 2 bytes จาก Rr, Rr+1 ไว้ใน Rd, Rd+1 ldi   Rd, k   :   โหลดค่าใส่ register , k มีค่า 0 - 255 ld Rd, X   :   อ่านค่าตำแหน่งที่ X ชี้อยู่เก

รู้จักกับการออกแบบอินโฟกราฟิกส์ infographics design

      infographics คือการออกแบบโดยการใช้ภาพนิ่ง, ภาพเคลื่อนไหวหรือสัญลักษณ์แทนข้อความหรือข้อมูลต่างๆ ที่ต้องการจะสื่อความหมายถึงข้อความหรือข้อมูลนั้นโดยภาพนิ่ง, ภาพเคลื่อนไหวหรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนจะมีรูปแบบที่ผู้อ่านสามารถเข้าใจได้อย่างรวดเร็วและชัดเจน โดยไม่ต้องมีผู้นำเสนอมาช่วยขยายความอีก       infographics มาจากคำว่า information + graphics การนำเสนอข้อมูลแบบ infographics จะนำเสนอข้อมูลที่เข้าใจยาก ข้อมูลที่ตัวอักษรเยอะๆ ในรูปแบบสร้างสรรค์เข้าใจได้ง่าย เช่น ภาพ ลายเส้น แผนภูมิ แผนที่ ฯลฯ สามารถสื่อข้อมูลนั้นออกมาได้อย่างชัดเจน มีองค์ประกอบที่สำคัญ        ตัวอย่างการนำเสนอข้อมูลแบบ infographics http://www.alychidesigns.com/30-templates-and-vector-kits-to-design-your-own-infographic กระบวกการออกแบบดีไซน์ infographics โดย Hyperakt's Josh Smith  1. รวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูลทุกอย่างเกี่ยวกับสิ่งที่จะนำเสนอโดยข้อมูลที่ดีควรเป็นข้อมูลดิบจากต้นฉบับและควรเก็บรวบรวมลิ้งค์ข้อมูลไว้ด้วย 2. การอ่านข้อมูลทั้งหมด การออกแบบอินโฟกราฟิกต้องมีทักษะในการจัดการข้อมูลและต้องแน่ใจว่าข้

Python: Chat bot &Text to Speech ภาษาไทย ด้วย gTTS

วันนี้จะมาแนะนำทุกๆ คนเกี่ยวกับ การเขียนโปรแกรมง่าย ๆ เพื่อให้คอมพิวเตอร์อ่านออกเสียงตามที่เราได้พิมพ์ให้ โดย ใช้ library คือ gTTS และ play sound จะมีวิธีการเขียนอย่างไร มาดูกันเลย เริ่มจากติดตั้ง package gTTS และ play sound ก่อน                                                                          pip install gTTS                                                                                pip install playsound                                                                                                                                                                               จากนั้น เรามาเริ่มเขียนโปรแกรมกันเลย โดยการทำงานของโปรแกรมนี้คือ โปรแกรมจะรับค่าข้อความจากผู้ใช้ จากนั้น เรียกใช้ library gTTS โดยส่งข้อมูลคือ ข้อความ และ ภาษา สำหรับการแปลงข้อความเป็นเสียงผ่าน google translate API แล้วจากนั้นจึงทำการ save ข้อมูลลงไปยัง file ชื่อ "sound.mp3" ต่อมาไฟล์จะถูกเล่นโดย playsound เป็นเสียงให้เราได้ยินกัน และในบรรทัดสุดท้ายเป็นการลบไฟล์ที่บัน